Breaking News
Home / Uncategorized / วิจัยมุ่งเป้าของคณะฯ “ฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์จอมปลวกและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดูนลำพัน จ.มหาสารคาม”

วิจัยมุ่งเป้าของคณะฯ “ฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์จอมปลวกและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดูนลำพัน จ.มหาสารคาม”

คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและเสริมสร้างความพร้อมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในจังหวัดมหาสารคาม เพื่อให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2560-2564

วิจัยมุ่งเป้าของคณะฯ “ฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์จอมปลวกและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดูนลำพัน จ.มหาสารคาม”

(สำนักงานปลักกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, http://nongkhai.mnre.go.th/ewt_dl.php?nid=591)  จึงได้จัดสรรเงินประมาณรายได้ เพื่อสนับสนุนทุนวิจัยมุ่งเป้าในการพัฒนาฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อมและ/หรือทรัพยากรธรรมชาติในจังหวัดมหาสารคาม โดยในปีงบประมาณ 2560 ดร.ธายุกร พระบำรุง อาจารย์ผู้หลักผิดชอบหลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ได้รับการพิจารณาและการสนับสนุนทุน ให้ดำเนินโครงการวิจัย ในหัวข้อ “ฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์จอมปลวกและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา เขตห้ามล่าสัตว์ป่าดูนลำพัน จ.มหาสารคาม ร่วมกับนักวิจัยนิสิต 4 คน คือ นางสาวชนิรณ์ มีศรี นางสาวบุษบา บุตรัตน์ นางสาวนิศาชน นันทะศรี และนางสาววันวิสา รินทระ นิสิตหลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร โดยการวิจัยครั้งนี้ ได้บูรณาการร่วมกับการบริการวิชาการ ซึ่งมีครูรัชนี เปาะศิริ พร้อมด้วยนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 16 คน จากโรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค จ.มหาสารคาม เป็นกลุ่มนำร่อง นอกจากนี้ยังได้ต่อยอดงานวิจัย สู่การพัฒนาหลักสูตรยุวมัคคุเทศก์ท้องถิ่น  ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเป็นต้นทุนของชุมชนและเป็นกลไกหนึ่ง ในการผลักดันให้เกิดความยั่งยืน ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของท้องถิ่น ทั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม (มมส) สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช (มมส) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าดูนลำพัน และโรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์และโรงเรียนในเครือข่าย โดยผู้สนใจ สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่   https://termite-data.msu.ac.th/termite/

ข่าว/ภาพ: ดร.ธายุกร พระบำรุง

14590375_217107708701225_656965028383282008_n

14907135_217108575367805_5484641563687995527_n 14732390_217109835367679_6075609128197590457_n 14725723_217109875367675_5975691745929697274_n 14591618_217109882034341_6364430564102103553_n 14590440_217107712034558_8962932177958813080_n

วิจัยมุ่งเป้าของคณะฯ “ฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์จอมปลวกและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
วิจัยมุ่งเป้าของคณะฯ “ฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์จอมปลวกและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน

ภาพถ่าย สามารถดาวน์โหลดเพิ่มเติมได้จาก  https://goo.gl/DWeHD9

About env@msu.ac.th

Check Also

คณะสิ่งแวดล้อมฯ ร่วมผลักดันกลไกสร้างเมืองรีซิเลียนซ์ต่อภัยพิบัติ ผ่านเวทีเสวนาสุขภาวะชุมชนเมืองตักสิลา

คณะสิ่งแวดล้อมฯ ร่วมผลักดันกลไกสร้างเมืองรีซิเลียนซ์ต่อภัยพิบัติ ผ่านเวทีเสวนาสุขภาวะชุมชนเมืองตักสิลา

คณะสิ่งแวดล้อมฯ ร่วมผลักดันกลไกสร้างเมืองรีซิเลียนซ์ต่อภัยพิบัติ ผ่านเวทีเสวนาสุขภาวะชุมชนเมืองตักสิลา เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แสดงบทบาทสำคัญในการสนับสนุนองค์ความรู้และวิชาการ เพื่อผลักดันการพัฒนาเมืองยืดหยุ่นรับมือภัยพิบัติ (Urban Resilience) ผ่านการร่วมเสวนา …

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *