Breaking News
Home / Uncategorized / หน่วยปฏิบัติการวิจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การบรรเทา และการปรับตัว

หน่วยปฏิบัติการวิจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การบรรเทา และการปรับตัว

 หน่วยปฏิบัติการวิจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การบรรเทาและการปรับตัว

Climate Changes Mitigation and Adaptation Research Unit (CMARE)

อ.ดร.ธายุกร พระบำรุง

ผู้อำนวยการศูนย์: ดร.ธายุกร พระบำรุง
หมายเลขโทรศัพท์มือถือ:  08 9401 9294
อีเมล: thayukorn.p@msu.ac.th

วิสัยทัศน์ (Vision)

เป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัยที่เป็นสหวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การบรรเทา และการปรับตัว ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งด้านสังคม สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ รวมถึงการถ่ายทอด การพัฒนากลไกในการเพิ่มศักยภาพของต้นทุนมนุษย์ การแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ และการผลักดันสู่นโยบายที่พร้อมปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

พันธกิจ (Mission)

พัฒนางานวิจัยที่เป็นสหวิทยาการที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศ และต่างประเทศ โดยส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการทุกศาสตร์เข้าด้วยกัน ควบคู่การพัฒนาระบบสนับสนุน ที่ครอบคลุมถึงการจัดการฝึกอบรม การแลกเปลี่ยนทั้งในและต่างประเทศ และการถ่ายทอดผลงานวิจัยสู่การนำปฏิบัติใช้และขับเคลื่อนสู่นโยบายสาธารณะ

เครือข่าย (Network)

สำนักงานสหประชาชาติสำหรับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (UNDRR)

เครือข่ายคาร์บอนนิวทรัลประเทศไทย (Thailand Carbon Neutral Network: TCNN)

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ผลการดำเนินการ (Outcome)
บทความวิจัยระดับชาติ

ธายุกร พระบำรุง ภาคิน ติระพงศ์ไพบูลย์ เศรษฐา เณรสุวรรณ ปิยภัทร บุษบาบดินทร์  และสุนิสา สุดรัก. (2566).การสร้างเมืองยืดหยุ่นด้วยกลยุทธ์การศึกษา ภายใต้โครงการ MCR2030 กรณีของเมืองมหาสารคาม. ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายพัฒนาความเข้มแข็งต่อภัยพิบัติ ครั้งที่ 1 ในหัวข้อ “ความยืดหยุ่นของภัยพิบัติในพื้นที่เมืองและความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชน” (Urban Disaster Resilience and Community Well-Being). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

ภาณุวัฒน์ ไว้สันเทียะ กฤชญาณ อินทรัตน์ ธายุกร พระบำรุง และวนิสา สุรพิพิธ (2564).การทดลองประมาณค่าสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายจากพืช ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในจังหวัดกาญจนบุรี. ในการประชุมทางวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อมครั้งที่ 5 คณะวิ่ทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา (หน้า 50-59).  มหาสารคาม:  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ธายุกร พระบำรุง (2564). การศึกษาการกระจายของจอมปลวก รูปแบบ และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมต่อการเกิดเห็ดโคน สำหรับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าดูนลำพันอย่างยั่งยืน. ในการประชุมทางวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อมครั้งที่ 5  คณะวิ่ทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา (หน้า 311-330). . มหาสารคาม:  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

พาทิศ สิทธิโชติ และธายุกร พระบำรุง (2564) การศึกษาการเคลื่อนย้ายของหมอกควันระดับภูมิภาคจากการเผาไหม้ของมวลชีวภาพทางการเกษตรโดยใช้แบบจำลอง HYSPLIT: กรณีศึกษาเมืองมหาสารคาม  ในการประชุมทางวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อมครั้งที่ 5 คณะวิ่ทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา (หน้า 25-38). มหาสารคาม:  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

บทความวิจัยระดับนานาชาติ

Bridhikitti, A., Petchpayoon, P., Prabamroong, T. (2023). Integrated Remote Sensing Observations of Radiative Properties and Sources of the Aerosols in Southeast Asia: The Case of Thailand. Remote Sens. 2023, 15, 5319. https://doi.org/10.3390/rs15225319

Bridhikitti, A., Prabamroong. T., Liu, G. (2023). Dry-season sources of riverine sediment from the tropical mixed urban-agricultural watershed of the Mun River Basin in Northeastern Thailand,

International Journal of Sediment Research, 38 (2): 240-252.

Bridhikitti, A., Ketuthong, A., Prabamroong, T., Li, R., Li, J. and Liu, G. (2022). How Do Sustainable Development-Induced Land Use Change and Climate Change Affect Water Balance? A Case Study of the Mun River Basin, NE Thailand. Water Resour Manage (2022). https://doi.org/10.1007/s1126

Bridhikitti, A., Pumkaew, M., Prabamroong, T. Yu, G-A. and Liu, G. Processes governing nutrient dynamics in tropical urban-agriculture rivers, NE Thailand. Sustain. Water Resour. Manag. 8, 156 (2022). https://doi.org/10.1007/s40899-022-00750-w

Bridhikittia, A., Ketuthong, A., Prabamroong, T., Renzhid, L., Jing, L.  and Gaohuand, L. (2022). Forecasting 100-year changes of streamflow in the Mun River Basin (NE Thailand) under the HAPPI experiment using the SWAT model. Journal of Water & Climate Change. 13 (4): 1706-1724

Bridhikitti, A., Ruamchalerm, P., Keereesuwannakul, M., Prabamroong, T., Liu, G., Huang, C. (2022). Magnitude and factors influencing soil loss and sedimentation in the Mun River Basin, Thailand, Catena 210 (3–4):105872

Bridhikitti A., Prabamroong T., Liu G., Yu G.-A. (2021). Best management practices for mitigating agricultural nutrient pollution in the Mun River Basin, Thailand. Soil & Water Res., 16: 121-128.

Bridhikitti, A., Prabamroong, T., Yu, G.-A. (2020). Problem identification on surface water quality in the Mun River Basin, Thailand. Sustainable Water Resources Management, 6 (53): 1-12.

Tian, G., Yu, G.-A. Tong, L., Li, R., Huang, H.Q., Bridhikitti, A., Prabamroong, P.  Water Quality of the Mun River in Thailand-Spatiotemporal Variations and Potential Causes. Int. J. Environ. Res. Public Health (2019); 16, 3906; doi:10.3390/ijerph16203906

Littidej, P. and Buasri, N. (2019). Build-Up Growth Impacts on Digital Elevation Model and Flood Risk Susceptibility Prediction in Muaeng District, Nakhon Ratchasima (Thailand). Water (2019); 11, 1496; doi:10.3390/w11071496

Beringer, A.L. and Kaewsuk J., Emerging Livelihood Vulnerabilities in an Urbanizing and Climate Uncertain Environment for the Case of a Secondary City in Thailand, Sustainability (2018); 10(5), 1452.

Suwannatrai, A., Pratumchart, K., Suwannatrai, K., Thinkhamrop K., Chaiyos, J., Kim, C. S., Suwanweerakamtorn, R., Boonmars T, Wongsaroj, T., Sripa, B. Modeling impacts of climate change on the potential distribution of the carcinogenic liver fluke, Opisthorchis viverrini, in Thailand, Parasitol Res (2017); 116:243–250 DOI 10.1007/s00436-016-5285-x

Prasara-A J, Gheewala SH, Silalertruksa T, Pongpat P, Sawaengsak W. Environmental and social life cycle assessment to enhance sustainability of sugarcane-based products in Thailand. Clean Technologies and Environmental Policy (2019); 21 (7):1447-1458. doi:10.1007/s10098-019-01715-y

Prasara-A, J., Gheewala, S.H. Sustainable utilization of rice husk ash from power plants: a review. Journal of Cleaner Production (2017); vol. 167, pp. 1020-1028.

Prasara-A, J., Gheewala, S.H. Sustainability of sugarcane cultivation: case study of selected sites in north-eastern Thailand. Journal of Cleaner Production (2016); 134, Part B, pp. 613-622.

Busababodhin, P.  Modeling on Maximum Rainfall and Temperature based on Extreme Value Copula Analysis, Abstract Proceeding of 10th Conference on Extreme Value Analysis (EVA2017), Delft, Netherlands.  26-30 June 2017, 14.

Bridhikitti, A., Prabamroong, T., Yu, G.-A. 2020. Problem identification on surface water quality in the Mun River Basin, Thailand. Sustainable Water Resources Management. 6 (53): 52-53.

Prasertsri, N. and Littidej, P. 2020. Spatial Environmental Modeling for Wildfire Progression Accelerating Extent Analysis Using Geo-Informatics Pol. J. Environ. Stud. 29(5): 3249–3261.

แพลตฟอร์มดิจิทัล/E-Book

ระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการจัดการฝุ่นละอองขนาดเล็กเชิงพื้นที่ https://dustinfo4all.com/

ระบบสารสนเทศสหวิทยาการ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) https://sdgs.msu.ac.th/

ระบบสนับสนุนการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (เมืองมหาสารคาม) https://talontalad.com/

คู่มือหลักสูตรท้องถิ่น การพัฒนาความรู้และความเข้าใจดิน น้ำ และอากาศของเยาวชน เพื่อการปรับตัวต่อภาวะโลกรวนอย่างยั่งยืน กรณีชุมชนบ้านปลาบู่ ต.หนองแสง อ.วาปีปทุม จ.มหาสารคาม.

คู่มือหลักสูตรท้องถิ่นแบบบูรณาการ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับโรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม.

คู่มือหลักสูตรท้องถิ่นแบบบูรณาการ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับโรงเรียนโคกก่อพิทยาคม ต.โคกก่อ อ.เมืองมหาสารคาม จ.มหาสารคาม.                                              https://pubhtml5.com/bookcase/kwjbh/

คู่มือการเรียนรู้ท้องถิ่น เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวิถีวัฒนธรรม เล่ม 1-4 กรณีเมืองมหาสารคาม

https://pubhtml5.com/bookcase/wakxd/

คู่มือหลักสูตรท้องถิ่นสหวิทยาการ โดยใช้ประวัติศาสตร์และอัตลักษณ์ชุมชน เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน

https://pubhtml5.com/bookcase/ofeu/

การบรรเทาและการปรับตัว-2562.pdf

หลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการที่ให้บริการ (ทั้งออนไลน์และออนไซต์)  

1) การเสริมสร้างพลังผู้เชี่ยวชาญชีวิต เพื่อปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

กลุ่มเป้าหมาย: ผู้เชี่ยวชาญชีวิต ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป   ระยะเวลา  1.5 ชั่วโมง

2) การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนธุรกิจชุมชนที่ยั่งยืน

กลุ่มเป้าหมาย: คณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน   ระยะเวลา  3 ชั่วโมง

3) อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติเชิงบูรณาการ                                                                                                                                    กลุ่มเป้าหมาย: ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   ระยะเวลา  2 ชั่วโมง

4) การบูรณาการทักษะการสื่อสารเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในชุมชนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ประกอบด้วย การค้นหาตัวตนของชุมชน กลไกสนับสนุน และโอกาสการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน การสร้างพลังและการมีส่วน
รวมของภาคีเครือข่าย จากเรื่องเล่าสู่เรื่องราว (Content) และการบูรณาการทักษะการสื่อสาร  เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง
ในชุมชน  กลุ่มเป้าหมาย:  นิสิต นักศึกษา และครู   ระยะเวลา 1 วัน

5) การอนุรักษ์พลังงานและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

กลุ่มเป้าหมาย: เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและวิสาหกิจ   ระยะเวลา 2 ชั่วโมง

6) การพัฒนาธรรมนูญชุมชนเพื่อการจัดการมลพิษจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก โดยการมีส่วนร่วมและทุกคนได้ประโยชน์

กลุ่มเป้าหมาย: คณะกรรมการชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น และสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด   ระยะเวลา 2 ชั่วโมง

7) การบูรณาการกลไกการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อการนำไปสู่เมืองรีซิเลียนซ์ต่อภัยพิบัติ (MCR2030)

กลุ่มเป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   ระยะเวลา 1.5 ชั่วโมง

8) การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นสหวิทยาการ โดยใช้บริบทชุมชนเป็นฐาน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

กลุ่มเป้าหมาย: ผู้บริหารโรงเรียน และครู    ระยะเวลา 1 ชั่วโมง

9) การเติบโตและความรีซิเลียนซ์สู่ความต่อเนื่องธุรกิจในยุคของภัยพิบัติ

ครอบคลุม การจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP)

กลุ่มเป้าหมาย: ผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   ระยะเวลา 1.5 ชั่วโมง

10) สำนักงานสีเขียว (Green Office)

กลุ่มเป้าหมาย:  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  สถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน   ระยะเวลา 3 ชั่วโมง

About env@msu.ac.th

Check Also

ประกาศ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่อง รายชื่อผู้มีสิทธิสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งเป็นลูกจ้างชั่วคราว สังกัด คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปีงบประมาณ 2568

ประกาศ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่อง รายชื่อผู้มีสิทธิสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งเป็นลูกจ้างชั่วคราว สังกัด คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปีงบประมาณ 2568

>pdf ดาวน์โหลด<<<   ภาพและข่าว : คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มมส เผยแพร่โดย : ชลทิตย์ สีเทา ณ วันที่ : 5 กันยายน …

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *